31
ออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ด้วยคอมฯ / การเรียนรู้ครั้งที่ 19 KiCAD [ออกแบบ PCB-2 (ฺBridge Regulator)]
« กระทู้ล่าสุด โดย admin เมื่อ ธันวาคม 21, 2019, 11:44:50 AM »การออกแบบวงจรพิมพ์ในครั้งนี้เป็นการฝึกเพื่อเพิ่มความชำนาญในการใช้งานโปรแกรมออกแบบ KiCAD หากจำขั้นตอนการใช้งานยังไม่ได้ให้กลับไปศึกษาในงานครั้งที่ 8[V2] https://www.praphas.com/forum/index.php?topic=409.0
งานครั้งนี้เมื่อทำเสร็จจะได้วงจรดังรูป

ขั้นตอนการดำเนินการ
1. โจทย์วงจรดังรูป ในการใช้งานจริงผู้ออกแบบต้องหาขนาดของอุปกรณ์ (FootPrint)แต่ละตัวให้ครบก่อนการออกแบบ

2. เขียนผังวงจรจะได้ดังรูป (ไดโอดบริดจ์ต้องเลือกชนิดที่ขา 1 เป็นขาบวกและขา 3 เป็นขาลบ ตามที่อุปกรณ์ที่ใช้จริง)

3. ส่งค่าไปยังโปรแกรมออกแบบ PCB จะได้ดังรูป

4. จัดวางอุปกรณ์ในตำแหน่งที่เหมาะสม (วางในตำแหน่งที่ลายลายปริ้นง่ายมากที่สุด โดยสังเกตจากลาย net ไม่ให้ไขว้กันมากเกินไป) และกำหนดขนาด PCB ให้มีค่าเท่ากับ 1.0x1.5 นิ้ว

5. แนวทางการเดินลาย มีขั้นตอนคือ
- เดินเส้นหลัง
- เทพื้นในบริเวณที่กำหนด (Add Filled zones )

6. เมื่อให้แสดงผลการจัดวางแบบ 3 มิติ

ึ7. ดำเนินการ Plot ให้เป็นไฟล์ pdf เพื่อพร้อมที่จะทำ PCB ด้วยเทคนิค Toner transfer

งานครั้งนี้เมื่อทำเสร็จจะได้วงจรดังรูป

ขั้นตอนการดำเนินการ
1. โจทย์วงจรดังรูป ในการใช้งานจริงผู้ออกแบบต้องหาขนาดของอุปกรณ์ (FootPrint)แต่ละตัวให้ครบก่อนการออกแบบ

2. เขียนผังวงจรจะได้ดังรูป (ไดโอดบริดจ์ต้องเลือกชนิดที่ขา 1 เป็นขาบวกและขา 3 เป็นขาลบ ตามที่อุปกรณ์ที่ใช้จริง)

3. ส่งค่าไปยังโปรแกรมออกแบบ PCB จะได้ดังรูป

4. จัดวางอุปกรณ์ในตำแหน่งที่เหมาะสม (วางในตำแหน่งที่ลายลายปริ้นง่ายมากที่สุด โดยสังเกตจากลาย net ไม่ให้ไขว้กันมากเกินไป) และกำหนดขนาด PCB ให้มีค่าเท่ากับ 1.0x1.5 นิ้ว

5. แนวทางการเดินลาย มีขั้นตอนคือ
- เดินเส้นหลัง
- เทพื้นในบริเวณที่กำหนด (Add Filled zones )

6. เมื่อให้แสดงผลการจัดวางแบบ 3 มิติ

ึ7. ดำเนินการ Plot ให้เป็นไฟล์ pdf เพื่อพร้อมที่จะทำ PCB ด้วยเทคนิค Toner transfer
